วันพฤหัสบดี, ตุลาคม 07, 2553

Caught in the crossfire: The curious case of Viktor Bout

by herogeneral.blogspot.com
Ref: Asian Correspondent; By Narun Popattanachai (update Oct. 08 2010 - 08:56 am)

จาก อัลบั้ม Asiancorrespondent

Viktor Bout, despite having been jailed for more than two years in Bangkok, does not seem to lose his mantra. His pending extradition to the US was temporarily halted due to legal technicalities brought about by the six extra charges of money laundering and fraud filed by the US authorities in the early 2010. And although only two days later, the same Court made a stunning u-turn by dropping those charges, it is believed that he won’t be leaving Thailand any time soon. Let’s look back at this twist-n-turns chronicle and also appraise any political implications it may cause, intentionally or otherwise.

Timeline of the case

March 5, 2008, Bout got caught in a hotel in downtown Bangkok a few hours after he entered the country. The arrest was part of a sophisticated sting operation led by the US Drug Enforcement Agency (DEA) with assistance from the Royal Thai Police. The DEA agents disguised as representatives of FARC, the Columbian armed insurgents and allegedly taped Bout offering to supply a dazzling range of dangerous weapons to the rebel group. Unsurprisingly, Bout himself denied all the allegations and argued that he was in fact framed by the US and Thai authorities when he was simply a businessmen going about his own errands.

March 6, 2008, the US Department of Justice files several charges against Bout, inter alia, conspiracy to provide material support and resources to a designated foreign terrorist organization. As a result, the US authorities also began their arduous attempt to have the so-called ‘Merchant of the Death’ extradited to be tried in the US.

August 11, 2009, the Thai Criminal Court (the court of first instance) refused to grant the extradition on the grounds not only that the array of charges against the accused in the US were highly politicized but also that they did not fall into any sections in the Thai Criminal Code. The US promptly appealed against the ruling.

February 2010, the Thai prosecutor then filed six additional charges, on the US’s behalf, against Bout including money laundering and fraud in order to ensure that he would not be set free.

August 20, 2010, the Americans were seen to finally have it their way when the Thai Court of Appeal ordered the Russian to be handed over Washington on a condition that the extradition must be carried out within three months dated from the ruling (i.e. by November 20), otherwise Bout should be released.

October 4 – 6, 2010, a dramatic turn of events saw the Criminal Court refusing to drop those additional charges brought by the Thai prosecutor before the same court made a diametrically opposite ruling in dismissing all six further charges on the ground of insufficient evidence. Nonetheless, the Bout’s legal team has vowed to fight on in last-ditch legal challenge to the extradition request.

October 8, 2010, in response to the defence lawyer’s decision to appeal against the Criminal Court’s decision to drop of the six additional charges, the Thailand's Office of Attorney General (OAG) is considering an extension of the extradition period which should end by November 20. This most recent development ensures that the Bout saga lives on for a long while yet.

Political implications

There are a number of interesting points that can be drawn from this hugely entertaining show. Here are a couple of them.

1. Why does the government have to care so much for the Russian relationship that it risks severing its long-lasting tie with the US (e.g. a group of Congressmen wrote a letter questioning Thailand’s Major Non-NATO Ally status in a consequence of the delay of the extradition)? There are many wide conjectures flying about. For instance, the Thai army chiefs did not wish to damage its fledging partnership with the Russian counterpart amidst many pending weapons supply deals. Furthermore it was also alleged that there was a connection between the Russian and the fugitive former Thai PM Thaksin. Another rumour is that a deal was proposed for Bout to be exchanged with Thaksin (captured alive). Of course, the government strenuously defended its non-interference stance by asserting that the delay of the legal proceeding was typical due to the complicated nature of the issues surrounding the case.

2. Secondly, why Thailand of all places? Is the Thai administration caught in the middle of a crossfire between two Cold War heavyweights by accident or is it a willful accomplice aiming to gain something out of nothing? We, the people, will never know …

----------------------------------


จาก อัลบั้มมติชน ออนไลน์

เมียบูทร้องสภา-กมธ.ตปท.ขอความเป็นธรรม เชื่อคำตัดสินมาจากแรงกดดันการเมือง หวังแก้แค้นไม่ซัดทอด"แม้ว"
ที่มา: มติชนออนไลน์ (update วันที่ 07 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เวลา 21:30:49 น.)

นางเอลล่า บูท ภรรยานายวิคเตอร์ บูท ผู้ต้องหาค้าวุธสงครามชาวรัสเซีย เดินทางมายื่นเอกสาร 2 ฉบับซึ่งแปลเป็นภาษาไทย ประกอบด้วย จดหมายของนายวิคเตอร์ บูท ถึงสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการธิการ(กมธ.)การต่างประเทศ จำนวน 3 หน้า และจดหมายของนางเอลลา ที่รัฐสภา เมื่อวันที่ 7 ตุลาคมถึงนายกรัฐมนตรี จำนวน 2 หน้า ผ่านนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น ส.ส.อุดรธานี พรรคเพื่อไทย(พท.) ในฐานะประธานกมธ.การต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร หลังจากที่ศาลอาญามีคำสั่งยกคำร้องของอัยการสำนักงานต่างประเทศ ที่ขอให้มีคำสั่งส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนนายวิคเตอร์ บูท ไปดำเนินคดีที่สหรัฐฯ ในข้อหาฟอกเงินและฉ้อโกงทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากเห็นว่าไม่มีหลักฐานเพียงพอที่ศาลจะมีคำสั่งให้ขังนายวิกเตอร์ บูทเพื่อรอส่งตั?วเป็นผู้ร้ายข้ามแดนไปสหรัฐฯ และมีคำสั่งให้ปล่อยตัวนายวิคเตอร์ภายใน 72 ชั่วโมง

นายต่อพงษ์ กล่าวว่า นางเอลลา ระบุว่านายวิคเตอร์ บูท เข้าใจว่ากระบวนการยุติรรมของไทยที่พิจารณาคดี ต้องผ่านการพิจารณจาก 3 ศาล แต่ภายหลังทราบว่ามีกระบวนการพิจารณาเพียง 2 ศาล และคิดว่าคงถูกส่งตัวกลับแน่นอน แต่สุดท้ายศาลก็ไม่ส่ง เขาก็เข้าใจ แต่สาเหตุที่ต้องเดินทางมายื่นหนังสือ เนื่องจากนายวิคเตอร์ บูทต้องการให้สภา เป็นช่องทางในการเรียกเอกสารและข้อมูลในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องความยุติธรรมว่าข้อกล่าวหาของทางสหรัฐอเมริกาเป็นจริงหรือไม่ หากไทยยังมีข้อสงสัยก็สามารถเรียกดูเอกสารเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการค้ามาแสดงให้ทราบได้ ทั้งนี้หลังจากรับเรื่องแล้วคณะกรรมการธิการฯจะนำเรื่องดังกล่าวเข้าหารือในการประชุมคณะกรรมาธิการฯในวันที่ 13 ตุลาคม นี้ต่อไป


ผู้สื่อข่าวรายงานว่าสำหรับเนื้อหาโดยสรุปในจดหมายดังกล่าวที่นายวิกเตอร์ บูท เขียนถึงสภาฯและกมธ.ต่างประเทศนั้น ข้อความระบุว่า 1.การจับกุมเป็นการจับกุมของสายลับสหรัฐฯ ไม่เกี่ยวข้องกับคนไทย และรัสเซีย ไม่มีมูลฐานใด 2.ศาลอุทธรณ์ ไม่เห็นด้วยกับศาลอาญาว่าคดีข้าพเจ้ามีลักษณะทางการเมือง 3. ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยเห็นว่าข้อกล่าวหาของสหรัฐฯนั้น ตรงและเทียบได้กับมาตรา135 ของประมวลกฎหมายอาญาไทย (ก่อการร้าย) โดยที่ศาลอาญาระบุว่าไม่ใช่ และ4.ศาลอาญาระบุว่าไม่สามารถกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดซึ่งกระทำโดยคนต่างด้าวในต่างประเทศต่อคนต่างด้าวอีกประเทศหนึ่ง และส่วนตัวข้อหาที่สหรัฐฯไม่ตรงหรือเทียบไม่ได้กับมาตราใดในกฎหมายไทย


นายวิคเตอร์ บูท ระบุในเอกสารตอนหนึ่งว่า คำตัดสินของศาลอุทธรณ์ในการส่งตัวนายวิคเตอร์ บูท เป็นผู้ร้ายข้ามแดนนั้น มาจากแรงกดดันทางการเมืองมากกว่ากฎหมายที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งเป็นการแก้แค้นที่นายวิคเตอร์ บูท ปฏิเสธที่ไม่ยอมเชื่อมโยงชื่อของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีว่าเกี่ยวข้องกับการลักลอบขนอาวุธ จึงขอร้องให้มีการดำเนินการสืบสวนทางรัฐสภา เพื่อพิจารณาเรื่องทั้งหมดที่เกี่ยวกับคดีตั้งแต่เหตุการณ์จับกุมตัว ไปจนถึงการตัดสินของศาลอุทธรณ์ และขอให้คุ้มครองนายวิคเตอร์ บูท จากความพยายามดึงตัวไปพัวพันกับประเด็นทางการเมืองของไทย อีกทั้งขอให้พิจารณาคดีในแง่สิทธิและเสรีภาพ ซึ่งรับรองโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและกฏหมายไทย อย่างไรก็ตามสำหรับเนื้อหาในจดหมานของนางเอลลาถึงนายกฯนั้น สรุปได้ว่าขอให้รัฐบาลพิจารณาพิจารณาเรื่องนี้ ด้วยความเป็นธรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น