วันศุกร์, ตุลาคม 15, 2553

Thailand's real refugee problem - an interview Part I & Part II

by herogeneral.blogspot.com
Ref: Asian Correspontdent By Andrew Spooner (update: Oct. 13 2010 - 05:52 pm)

จาก อัลบั้ม Asiancorrespondent

จาก อัลบั้ม Asiancorrespondent

Earlier this month I made contact with a Thai national who has been granted refugee status in the UK. She lives in a simple house, on a typical street, in a very typical, provincial English town. “Tan” (her identity, for her protection, remains anonymous) endured so many threats to her person from people she asserts were connected to the extremist right-wing yellow-shirted PAD, that she felt forced to flee Thailand and seek refuge in a different country. Her claim for refugee status was accepted by UK authorities (substantial evidence needs to be produced for the UK authorities to accept someone as a “refugee”) and she now has leave to remain in the UK for five years.

What readers need to be reminded of is that while the Red Shirts have been ruthlessly crushed by the Thai state, any equivalent action by the extreme right-wing PAD and their yellow-shirted supporters goes completely unpunished by the Thai state. The PAD and their supporters are seemingly free to commit acts of violence and intimidation with complete impunity. In effect, the question remains - are the violent, extremist PAD acting on behalf of powerful elements within the Thai regime? And, if so, can Thai nationals expect protection from the Thai state, under the rule of law, when threatened by the PAD? The only answer at the moment, and the UK authorities seem to agree, is that no, they can’t. (A Thai version of this interview is available here - )

“I am a citizen of Thailand and I graduated with a Masters Degree from Thammasart University, Bangkok, Thailand in 2006. After graduating I was employed as a researcher with an international N.G.O. I left Thailand in early 2009. I had received death threats on my personal mobile phone. My husband received abuse by post to his office and other threats from supporters of the 2006 military coup. The political situation in Thailand had been deteriorating for some time and there were serious concerns about the lack of justice and the lack of rule of law. Violent political acts by the Yellow Shirted PAD were taking place nearly every day and repressive laws were being used to silence critics of the government. I left all my belongings in my home in Bangkok, arriving with only one small suitcase. I had to resign from my job and leave my friends and family behind. I have never lived outside Thailand before.

I applied for political asylum in the U.K. on the basis that if I returned to Thailand, I would be at risk of persecution from non-State and State actors due to my own political activities and to my close association with my husband. Since the year 2000 we had written books and article together and had collaborated on a number of Human Rights projects. Neither of us has ever been involved in violent acts. We merely stood up for Democracy and Human Rights and opposed the military coup in 2006 and the subsequent destruction of Democracy.

The non-State actors that I refer to are supporters of the fascist PAD who took over and wrecked Government House, used violence and weapons outside Parliament and took control of the two international airports in 2008. As an NGO activist I personally knew many PAD supporters and they knew me well enough to make death threats to my mobile phone and to make abusive comments to my face when I was carrying out my NGO duties.

Over the phone, these people said things like: “Watch it... you are going to be disappeared”... “You’ll catch a bullet”.... “look around you when you travel, you’re going to be disappeared”. I tried to ignore these threats at the time, in order to maintain some level of sanity. PAD websites, like the ASTV website had a habit of publishing peoples’ personal details and encouraging violence towards Red Shirt pro-democracy activists. Persecution by State and non-State actors includes violent assault, injury or death, but also degrading behaviour.

I had to show the British authorities that I was at risk of persecution from non-State and State actors because of the total break down in the rule of law and the increased political violence in Thailand since the coup of 2006. The political violence since 2006 was perpetrated mainly by the Thai State, but also by PAD supporters. It included soldiers firing on unarmed protestors, assassination attempts against activists and the planting of bombs. The number of political prisoners was also rapidly increasing. I had to prove that there was a serious deterioration in Human Rights and the Rule of Law in Thailand which would result in both my persecution and lack of sufficient protection by the Thai State. I was able to show that the present Government is staffed by PAD members and backed by the army. Prominent British academics and Human Rights activists wrote letters supporting my application for refugee status. I also quoted many international Human Rights reports and authoritative newspaper articles.

I now have refugee status and the right to remain in Britain for five years. I am currently studying English.”


บทสัมภาษณ์ผู้ลี้ภัยทางการเมืองชาวไทยในประเทศสหราชอาณาจักร
บทสัมภาษณ์โดยแอนดรูว์ สปูนเนอร์

Ref: Thailand Solidarity

ช่วง ต้นเดือนนี้ ผมมีโอกาสได้พบกับสตรีชาวไทยท่านหนึ่งที่ได้รับอนุญาตให้ตั้งถิ่นฐานใน ประเทศสหราชอาณาจักรเพราะได้รับการรับรองสถานะผู้ลี้ภัย เธอพำนักอยู่ในบ้านซึ่งตั้งอยู่ในเมืองแบบอังกฤษอันเรียบง่าน “ตาล” (นามสมมุติ เนื่องจากเหตุผลของความปลอดภัย) พยายามอดทนกับคำข่มขู่จากคนที่เธอแน่ใจว่าเกี่ยวข้องกับกลุ่มหัวรุนแรงฝ่าย ขวาอย่างพันธมิตร และทำให้เธอรู้สึกจำเป็นที่จะต้องหลบหนีออกจากประเทศไทยและแสวงหาสถานภาพผู้ ลี้ภัยจากประเทศอื่น เจ้าหน้าที่รัฐอังกฤษได้รับรองสถานภาพของเธอ (เจ้าหน้าที่รัฐอังกฤษจะรับรองสถานภาพผู้ลี้ภัยก็ต่อเมื่อมีหลักฐานชัดเจนเท่านั้น) ในปัจจุบันเธอได้รับสิทธิให้อาศัยอยู่ในประเทศอังกฤษ 5 ปี (หลังจากนั้นสามารถยื่นขอสถานภาพพลเมืองได้)

ผู้อ่านจะต้องไม่ลืมว่า ในขณะที่รัฐบาลไทยพยายามกำจัดคนเสื้อแดงอย่างอำมหิต แต่ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทยกลับไม่ลงโทษกลุ่มฝ่ายขวาหัวรุนแรงกลุ่มพันธมิตร และผู้สนับสนุนจากการกระทำของกลุ่มคนเหล่านี้เลย ดูราวกับว่ากลุ่มพันธมิตรและผู้สนับสนุนสามารถก่อความรนแรงหรือขู่กรรโชกผู้ คนได้โดยไม่ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำนั้น ซึ่งทำให้เกิดคำถามตามมาว่า กลุ่มหัวรุนแรงพันธมิตรกระทำการดังกล่าวในนามของกลุ่มผู้นำที่มีอำนาจหรือ ไม่? หากเป็นเช่นนั้นจริง ประชาชนชาวไทยสามารถคาดหวังความคุ้มครองภายใต้หลักนิติรัฐจากรัฐบาลเมื่อถูกข่มขู่จากกลุ่มพันธมิตรได้หรือไม่? คำตอบเดียวในตอนนี้คือ เจ้าหน้าที่รัฐอังกฤษดูเหมือนจะเห็นด้วยที่ว่ารัฐบาลไทยไม่สามารถทำได้


“ดิฉันเป็นคนไทยและจบปริญญาโทจากมหาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ในปี 2549 หลังจากที่จบการศึกษา ดิฉันได้ทำงานในตำแหน่งนักวิจัยให้กับองค์กรระหว่างประเทศเอ็นจีโอ ดิฉันเดินทางออกจากประเทศไทยในต้นปี 2552 เพราะ มีคนโทรศัพท์มาขู่ฆ่าดิฉันทางโทรศัพท์มือถือส่วนตัว สามีดิฉันได้รับจดหมายคุกคามที่ถูกส่งไปยังที่ทำงาน และถูกข่มขู่หลายครั้งจากผู้สนับสนุนการทำรัฐประหารในปี 2549 สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยแย่ลงอย่างต่อเนื่อง และมีความกังวลถึงเรื่องสภาวะที่ไร้ความยุติธรรมและระบบนิติรัฐ กลุ่มพันธมิตรกระทำการอันรุนแรงทางการเมืองทุกวัน และกฎหมายที่กดขี่ถูกใช้เป็นเครื่องมือคุกคามผู้ที่วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล ดิฉันทิ้งทรัพย์สินส่วนตัวทั้งหมดไว้ที่บ้านพักในกรุงเทพ และเดินทางมาที่พร้อมกับกระเป๋าเดินทางใบเล็กเพียงหนึ่งใบ ดิฉันต้องลาออกจากงาน ทิ้งเพื่อนและครอบครัวไว้ข้างหลัง และในเวลานั้นดิฉันไม่เคยใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศมาก่อน

ดิฉันยื่นขอสถานภาพลี้ภัยทางการเมืองในประเทศสหราชอาณาจักรด้วยเหตุผลง่ายๆที่ว่า หากดิฉันเดินทางกลับไปยังประเทศไทย ดิฉัน อาจจะเสี่ยงต่อการถูกคุกคามจากกลุ่มคนและเจ้าหน้าที่รัฐเพราะกิจกรรมทางการ เมืองของดิฉัน และความสัมพันธ์ใกล้ชิดของดิฉันกับสามี ตั้งแต่ปี 2543 เรา ได้เขียนหนังสือบทความ และดำเนินโครงการเกี่ยวกับสิืทธิมนุษยชนร่วมกันหลายโครงการ เราทั้งสองคนไม่เคยมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำอันรุนแรงใดๆ เราเพียงแค่สนับสนุนประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ต่อต้านการทำรัฐประหารในปี 2549 และการทำลายระบอบประชาธิปไตยในภายหลังเท่านั้น

กลุ่มคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่รัฐที่ดิฉันกล่าวถึงคือกลุ่มผู้สนับสนุนกลุ่มเผด็จ การฟาสซิสต์พันธมิตรที่ยึดและทำลายทำเนียบรัฐบาล ใช้ความรุนแรงและอาวุธนอกรัฐสภา และยังยึดสนามบินนานาชาติถึงสองแห่งในปี 2551 ในฐานะที่ดิฉันเป็นนักกิจกรรมเอ็นจีโอ ดิฉันจึงรู้จักผู้สนับสนุนกลุ่มพันธมิตรเป็นการส่วนตัว และพวกเขารู้จักดิฉันดีพอที่จะข่มขู่เอาชีวิตดิฉันทางโทรศัพท์มือถือ และยังด่าทอดิฉันต่อหน้าในขณะที่ดิฉันทำงาน

เวลาที่คนเหล่านั้นโทรมาข่มขู่ดิฉัน พวกเขาจะพูดว่า “ระวังตัวให้ดี … แกจะถูกอุ้มฆ่า” .. “แกจะถูกยิง” .. “ระวังตัวไว้ให้ดีเวลาไปไหนมาไหน เพราะแกจะถูกอุ้มฆ่า” ในเวลานั้น ดิฉันพยายามไม่ใส่ใจคำข่มขู่เหล่านี้ เพื่อที่จะสามารถดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุขในระดับหนึ่ง

เวปไซต์กลุ่มพันธมิตร อย่างเช่น ASTV ได้ เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวและปลุกระดมให้มีการใช้ความรุนแรงกับนักกิจกรรมผู้ เรียกร้องประชาธิปไตยคนเสื้อแดง การคุกคามโดยกลุ่มคนและเจ้าหน้าที่รัฐนั้นรวมไปถึงประชาทัณฑ์ ซึ่งนำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชีวิต และการลดคุณค่าความเป็นมนุษย์ของฝ่ายตรงข้ามด้วย

ดิฉัน ต้องแสดงหลักฐานต่อเจ้าหน้าที่รัฐอังกฤษว่าดิฉันเสี่ยงต่อการถูกคุกคาม จากกลุ่มคนและเจ้าหน้าที่รัฐเพราะระบบนิติรัฐถูกทำลายและความรุนแรงทางการ เมืองที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่รัฐประหารปี 2549 ความรุนแรงทางการเมืองเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2549 โดยการกระทำของเจ้าหน้ารัฐไทยและรวมไปถึงกลุ่มผู้สนับสนุนพันธมิตรอีกด้วย ซึ่งการกระทำนั้นรวมถึงการที่ทหารยิงผู้ชุมนุมที่ปราศจากอาวุธ จำนวนนักโทษทางการเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดิฉันต้องพิสูจน์ให้เจ้าหน้าที่รัฐอังกฤษเห็นว่าสิทธิมนุษยชนและระบบนิติรัฐ ในประเทศได้เสื่อมโทรมลงอย่างรุนแรง โดยดิฉันสามารถพิสูจน์ให้เจ้าหน้าที่รัฐที่นี่เห็นว่าคณะรัฐบาลไทยเต็มไป ด้วยสมาชิกลุ่มพันธมิตรและมีกองทัพหนุนหลัง นักวิชาการและนักเคลื่อนไหวกิจกรรมทางสิทธิมนุษยชน ผู้มีชื่อเสียงชาวอังกฤษได้เขียนจดหมายรับรองดิฉันในการยื่นขอสถานภาพผู้ลี้ ภัย ดิฉันยังได้ยกรายงานขององค์กรสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ และบทความในหนังสือพิมพ์ที่น่าเชื่อถือประกอบการยื่นขอนี้ด้วย

ในปัจจุบันดิฉันได้รับการรับรองสถานภาพผู้ลี้ภัยและมีสิทธิพำนักในประเทศสหราชอาณาจักรได้ 5ปี และขณะนี้ดิฉันกำลังศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ


จาก อัลบั้ม Asiancorrespondent

Thailand's refugee problem - Part 2
Ref: Asian Correspontdent By Andrew Spooner (update: Oct. 14 2010 - 05:46 pm)


There have been some questions raised as to the veracity of the interview I conducted with the Thai refugee in the UK, “Tan”, published here on Asian Correspondent yesterday.

In light of this I would like to say the following.

All refugees to the UK who hold a passport from their home countries are given a five-year residence permit once they’ve passed through the substantial checks conducted by the UK Border Agency. Details of this process can be found here. On the back of the residence permit another document confirms the person’s refugee status. Images of both of Tan's documents are published below

In addition, this residence permit entitles those accorded refugee status all the same welfare benefits, access to education and other privileges that go with being a British Citizen or resident.

If a Thai spouse arrives in the UK with a British husband they must first apply for a “settlement visa” which lasts just over two years. During this period a spouse does not have access to the same rights and privileges as those in the UK under a residence permit. Only after this two-year period is complete can a spouse then apply for a residence permit.

While it might be unpalatable to believe that Thai nationals may be in such danger from the Thai state or groups who receive protection from the Thai state (eg the PAD) that they have to flee to another country, it is, however, now a reality.


บทสัมภาษณ์คนไทยที่ลี้ภัยในอังกฤษ ภาค 2 (มีหลักฐานประกอบ)
บทสัมภาษณ์โดยแอนดรูว์ สปูนเนอร์


หลังจาก Asian Correspondent (แปลภาษาไทย) ได้ เผยแพร่บทสัมภาษณ์คุณตาล สตรีชาวไทยที่ได้รับการรับรองสถานภาพผู้ลี้ภัยทางการเมืองจากเจ้าหน้าที่รัฐ อังกฤษ ก็ได้เกิดคำถามว่าบทสัมภาษณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องจากหรือไม่

ในกรณีดังกล่าว ผมอย่างจะกล่าวว่า

หลังจากได้รับการรับรองสถานภาพ ผู้ลี้ภัยทุกคนจะยังคงถือพาสปอร์ตจากประเทศของตนเองและจะได้รับวีซ่าพำนักอาศัยเป็นเวลา 5ปี สำหรับกระบวนการในการยื่นขอสามารถอ่านได้ที่เวปไซต์ของ UK Border Agency นี่คือตัวอย่างหลักฐาน

จาก อัลบั้ม Asiancorrespondent

นอกจากนี้ ผู้ที่ถือวีซ่าดังกล่าวจะได้รับสิทธิ์ได้รับสวัสดิการสังคม การศึกษา และสิทธิอื่นๆเทียบเท่าพลเมืองอังกฤษ

คู่สมรสชาวไทยที่ติดตามสามีชาวอังกฤษ จะต้องยื่นขอวีซ่าคู่สมรสก่อน โดยวีซ่านั้นมีระยะเวลา 2ปี หลังจากนั้นสามารถยื่นขอวีซ่าพำนักถาวรได้ และผู้ถือวีซ่าคู่สมรสมีสิทธิเข้าถึงสวัสดิการของรัฐอย่างจำกัด

อย่าง ไรก็ตาม แม้จะเป็นเรื่องยากที่จะเชื่อว่า คนไทยคนหนึ่งตกอยู่ในอันตรายและถูกคุกคามจากรัฐไทยและกลุ่มคนที่ได้รับการปก ป้องจากรัฐไทย (อย่างกลุ่มพันธมิตร) จนต้องหนีออกนอกประเทศ แต่นี่คือเรื่องจริง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น