จาก Passions that ran high before the May 19 military crackdown have yet to cool |
Dabbing a ball of sticky rice into a fiery green-papaya salad, the lady in red blinks back tears. The waterworks aren't from the chilies that give the food of Isaan, Thailand's rural and impoverished northeast, its signature kick. "I am mourning my fellow protesters who were killed by the government like vegetables and fish," says the 50-something native of Chiang Yuen district, referring to the six weeks of battles in Bangkok between Red Shirt demonstrators and security forces that claimed 85 lives in Thailand's worst political violence in decades. "Watch out," she says, issuing a warning that belies her demure manner. "People are going to go underground and fight with arms. This is the beginning of a very long war."
On May 19, as government troops launched a final, deadly offensive to clear out protesters from their central Bangkok encampment, Red Shirt leaders tearfully surrendered to the authorities. But in Isaan, the rice-growing plateau where the antigovernment movement draws its most fervent support, no white flags wave in the dusty air. Anger and defiance are the emotions of the day. Accepting the government's plea for national reconciliation there is as unlikely as meal without chilies. In the city of Khon Kaen, a billboard on a main road is emblazoned with a doctored photo of Prime Minister Abhisit Vejjajiva, his aristocratic features bruised and battered. Even more chilling, everyone from matronly teachers to small-business owners is openly calling for armed insurrection. "I fear Isaan is going to become a base for an underground movement against state power," says Sutin Klungsang, a former member of parliament for a party aligned with Abhisit's nemesis and Red Shirt spiritual mentor, former Prime Minister Thaksin Shinawatra. "People are filled with hatred, and we must be prepared for a campaign of terrorism." (Watch TIME's video "Bangkok Before the Surrender: Inside the Red Camps.")
How did the Land of Smiles turn into such a nation of hate? Thailand likes to project an image of a cohesive country that triumphed as the only place in Southeast Asia not colonized by Western powers. But revolt has marred Thai history for centuries — and the recent past is no exception. Over the past few years the country's southernmost provinces, where the majority of residents are ethnic Malays, have been plagued by a shadowy Islamic insurgency that has killed more than 4,000 people. Isaan, an ethnic Lao stronghold that makes up one-third of Thailand's population, was the lair of communist guerrillas during the 1960s and '70s. Both regions are now among Thailand's poorest. "To ignore the economic fault line in Thailand and the possibility that this conflict may increasingly be expressed in ethnic terms," says David Streckfuss, an American academic based in Khon Kaen, "is to ignore what's threatening to tear the country apart."
An Unbridgeable Divide
The latest battle lines were drawn in Isaan in 2006 when a military coup dispensed with former Prime Minister Thaksin. The telecom billionaire of Chinese heritage might seem a curious hero for a population of up-country farmers and laborers. But Thaksin, now living abroad rather than serving a corruption-related jail sentence, unveiled populist policies that won over an untapped voter base. Villagers in the north and northeast adored his 30-baht (roughly $1) health care plan and mountains of easy credit — and conveniently ignored the corruption and human rights abuses that took place during his administration. When Thaksin was ousted by the army after months of rallies by Yellow Shirt protesters largely drawn from Bangkok's middle and upper classes, Isaan went into a quiet shock. In the first postcoup elections, rural voters, who outnumber their city cousins, ushered in a Thaksin proxy party. But in December 2008 a controversial court decision forced the dissolution of that party because of electoral misconduct. Abhisit, an Oxford-educated economist, came to power through parliamentary dealmaking. Hundreds of thousands of Isaan residents began to don red shirts. (See pictures of the showdown in Bangkok.)
The crimson-hued protesters' central demand was fresh elections they believe forces loyal to Thaksin will win, just as has happened in recent national polls. But antigovernment crusaders also added lofty ideals of democracy, equality and justice to the mix, and the movement quickly coalesced into a force that sent wave after wave of protesters down to Bangkok. In political classes held across Thailand's north and northeast, Red Shirt leaders delivered Marxist-inspired lectures on class warfare to wide-eyed farmers. It didn't matter that those tending Thailand's rice paddies aren't a starving bunch. Most own cell phones, some even shiny pickup trucks. But they and other rural residents saw the wealth of Bangkok — the glittering malls, the bejeweled women slathered in skin-whitening cream — and wondered why such wonders were beyond their reach.
For the upper echelons of Bangkok — some of whom impugn Isaan natives as "buffaloes" who migrate to the capital only to work as maids, vendors or prostitutes — the Red Shirts' organizational discipline was as mystifying as it was menacing. Today, with up-country passions threatening to turn into an armed underground movement, the Bangkok elite has true cause to be alarmed. Arson unleashed by renegade Red Shirts in the hours after the May 19 crackdown destroyed Thailand's stock exchange, its largest mall and several Bangkok banks. Since then, dozens of schools and other buildings have been attacked across the country. Grenades explode at night. With the Red Shirts' national leaders detained without bail, no one knows exactly who is directing the terror campaign. "The government has forced us to put down our hoses and pick up guns instead," says Sa-at, a rice and cassava farmer who took part in the Bangkok protests. "The land will go up in flames."
It's possible that such incendiary rhetoric will diminish after the last Red Shirt bodies are cremated and farmers return to their fields with the advent of the rainy season. But even Bangkok — like the nation as a whole — is bitterly cleaved between Reds and Yellows. "The divisions run right through society: through communities, families, workplaces and even government offices," says Bangkok Governor Sukhumbhand Paribatra, a member of Abhisit's Democrat Party. "You can't put any cost on the psychological damage that has been done." (See pictures of the violent end to the standoff in Bangkok.)
On May 23, there was at least one rare show of unity. Thousands of Bangkok residents both poor and rich scrubbed down streets decimated by weeks of protests, fighting and looting. Sukatkul Aroonchai owned a DVD shop inside CentralWorld, the megamall torched by rioters. "I lost everything in the fire," he says, "but I want to help society heal, and helping with the cleanup is one small way that I can do that."
Lingering Resentment
Such fence-mending does not resonate in the Red Shirt heartland. After all, Bangkok residents' grief for a burned-out mall — one Facebook page called "RIP CentralWorld" collected thousands of fans — dwarfed any public lament for the Red Shirts killed during the weeks of urban street fighting. The government's decision on May 25 to charge Thaksin in absentia with terrorism — a crime that can be punished by death — will only further inflame Red Shirts, who continue to insist that nothing but the government's immediate resignation could begin to quell their anger.
Early on in the standoff with the Reds, Abhisit promised elections in November in return for protesters leaving Bangkok. When the Red Shirts refused, the offer was rescinded and Abhisit now says that polls can only be held when calm returns to Thailand. That's not likely to happen anytime soon. "In the future, it will be very dangerous for the Democrats to campaign in Isaan," says former parliamentarian Sutin. "Their safety cannot be guaranteed." Even moderate Isaan residents like Charoenrak Phetpradab, the editor of Isaan Bizweek, can't see a way to bridge the two sides. "I've discovered there is no middle ground," he says. "It's hopeless." Traditionally, up-country Thailand would be set ablaze in the winter to clear fields. Now the fear is that the land may burn year-round.
— with reporting by Robert Horn / Bangkok
TIME:ม็อบอวสาน เริ่มต้นสงครามใต้ดิน
วันศุกร์, มิถุนายน 04, 2010 ไทยอีนิวส์ ออนไลน์
จุดจบที่เริ่มต้น-ขณะที่สื่อกระแสหลักของไทยพากันรายงาน ความสูญเสียของผู้ค้าที่ถูกเพลิงไหม้ห้าง และเรียกร้องคนกรุงเทพฯออกมาช่วยกันอุดหนุนเพื่อเยียวยา นิตยสารTIMEอันทรงอิทธิพลของโลกได้ไปทำข่าวที่ชนบทภาคอีสานเพื่อรายงานความ สูญเสียญาติมิตรของคนในภูมิภาคนี้ และเตือนว่านี่อาจเป็นจุดเริ่มต้นของการลงใต้ดินต่อต้านรัฐบาลด้วยอาวุธแบบ เดียวกับชายแดนภาคใต้ เพราะมีปัญหาคล้ายกันคือเรื่องเศรษฐกิจ กับความแตกต่างทางเชื้อชาติ
ชูธงแดงในประเทศไทย
ที่มา นิตยสารTIME
โดย ฮันนาห์ บีซ รายงานจากจังหวัดขอนแก่น ประเทศไทย
ระหว่างปั้นข้าวเหนียวเปิบลงไปในจานส้มตำรสจัด หญิงเสื้อแดงคนนี้พยายามฝืนกลั้นน้ำตาเอาไว้ ไม่ใช่เพราะความเผ็ดจากพริกของอาหารอีสานที่ทำให้เธอน้ำตาไหล "ฉันกำลังรันทดใจกับเพื่อนผู้ร่วมชุมนุมที่ถูกรัฐบาลฆ่าเหมือนผักเหมือน ปลา"หญิงอายุ50ปีที่มีภูมิลำเนาอยู่อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคามกล่าว
ทั้ง นี้เกิดสมรภูมิเผชิญหน้ากันนาน6สัปดาห์ในกรุงเทพฯระหว่างกลุ่มผู้เดินขบวน ประท้วงเสื้อแดงกับกองกำลังรักษาความมั่นคงฝ่ายรัฐบาล อันเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตไม่ต่ำกว่า 85 ศพ ซึ่งนับเป็นความรุนแรงทางการเมืองครั้งเลวร้ายที่สุดของไทยในระยะหลาย ทศวรรษ"คอยดูเถอะ"เธอพูดแสดงท่าทีเป็นการกล่วเตือนด้วยกริยาเอียงอาย" ประชาชนกำลังจะลงใต้ดินและต่อสู้ด้วยอาวุธ นี่จะเป็นการเริ่มต้นของสงครามที่ยืดเยื้อ"
เมื่อวันที่19พฤษภาคม ทหารของรัฐบาลเปิดศึกสุดท้าย กำหนดเป็นเส้นตายที่จะเคลียร์ผู้ประท้วงออกไปจากแคมป์จัดการการชุมนุมในย่าน ใจกลางกรุงเทพฯ แกนนำเสื้อแดงยอมจำนนทั้งน้ำตาต่อผู้กุมอำนาจรัฐ แต่ที่อีสานภูมิภาคที่มีการต่อต้านรัฐบาลอย่างกว้างขวาง ภูมิภาคที่สนับสนุนฝ่ายประท้วงอย่างเร่าร้อนที่สุด ไม่มีการยกธงขาวยอมแพ้ ความโกรธเกรี้ยวและคุคั่งเป็นคลื่นอารมณ์ในยามนี้
การยอมรับข้ออ้างของรัฐบาลว่าเพื่อสร้างการประนีประนอมกันภายในชาติก็เปรียบ เสมือนกับอาหารที่ขาดรสชาติของพริก ในตัวเมืองขอนแก่น ป้ายบนถนนสายหลักที่มีรูปของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในชุดฟอร์มแบบที่หมอใส่ก็ยิ่งย้ำบอกว่าเขาเป็นพวกอำมาตย์อภิสิทธิ์ชนในสายตา ของคนอีสาน"ผมเกรงว่าอีสานจะกลายเป็นฐานในการเคลื่อนไหวใต้ดินต่อต้านอำนาจ รัฐ"สุทิน คลังแสง อดีตส.ส. "ประชาชนเต็มไปด้วยความเกลียดชังและเราต้องเตรียมการรับมือกับการก่อการ ร้าย"
(ดู TIME's video "Bangkok Before the Surrender: Inside the Red Camps.")
ดิน แดนแห่งรอยยิ้มได้เปลี่ยนเป็นประเทศแห่งความเกลียดชังไปได้อย่างไร? ไทยเป็นประเทศที่มักโอ้อวดว่าเป็นเพียงประเทศเดียวที่รอดพ้นไม่ตกเป็น อาณานิคมของชาติมหาอำนาจตะวันตกในยุคล่าเมืองขึ้น
ทว่าการลุกฮือ ต่อสู้ก็เป็นรอยด่างให้กับประเทศไทยมาหลายศตวรรษท ซึ่งก็รวมทั้งเหตุการณ์ครั้งล่าสุดนี้ก็ไม่เป็นข้อยกเว้น ช่วงไม่กี่ปีมานี้จังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายมา เลย์และนับถือศาสนาอิสลามก็เกิดการจลาจลขึ้นเป็นเหตุให้มีผู้ถูกสังหารไป แล้วมากกว่า 4,000 ศพ
ส่วนอีสาน มีเชื้อสายลาวเป็นหลัก และมีประชากรมากเป็น1ใน3ของประชากรทั้งประเทศ ภูมิภาคนี้เคยเป็นฐานที่มั่นของกองโจรคอมมิวนิสต์ในระหว่างช่วง ทศวรรษ1960และทศวรรษ1970
ทั้งสองภูมิภาคอยู่ในเขตที่ยากจนที่สุดของ ประเทศไทย"ทั้งการถูกละเลยที่จะได้ประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย และมีความเป็นไปได้ที่ความขัดแย้งจะมีประเด็นเรื่องชาติพันธุ์เข้ามาเกี่ยว ด้วยอีก"เดวิด สเตร็คฟัสส์ นักวิชาการชาวอเมริกันที่มีฐานทำงานอยู่ในขอนแก่นกล่าว "อย่าเพิกเฉยว่าจะเป็นประเด็นคุกคามประเทศให้แยกออกเป็นส่วนๆ"
การ ต่อสู้ล่าสุดที่เกิดขึ้นในภาคอีสานเริ่มขึ้นในปี2549 เมื่อทหารทำรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร มหาเศรษฐีโทรคมนาคมเชื้อสายจีน ผู้ที่เป็นเสมือนวีรบุรุษของคนยากทั้งในหมู่เกษตรกรชาวต่างจังหวัด และบรรดาผู้ใช้แรงงาน( ซึ่งทักษิณที่บัดนี้อยู่ต่างประเทศไม่ยินยอมถูกจำคุกในข้อกล่าวหาพัวพันการ คอรัปชั่น)ได้เปิดตัวนโยบายประชานิยมที่เอาชนะใจผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือก ตั้งที่เป็นชาวบ้านในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งโครงการ 30 บาท(1ดอลลาร์)รักษาทุกโรคและโครงการปล่อยสินเชื่อสู่ชนบท โดยผู้ออกเสียงเหล่านี้มักมองข้ามข้อครหาเรื่องคอรัปชั่นและการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในยุคทักษิณเป็นรัฐบาล
(See pictures of the showdown in Bangkok.)
เมื่อทักษิณถูกกองทัพโค่น ล้มหลังจากการจัดประท้วงของคนเสื้อเหลือง ซึ่งส่วนใหญ่มาจากชนชั้นกลางและชนชั้นสูงในกรุงเทพฯ แต่แล้วคนในภาคอีสานก็ช็อคเงียบประเทศด้วยการเทคะแนนเสียงเลือกตั้งครั้งแรก หลังการรัฐประหารด้วยการเทคะแนนเสียงให้พรรคการเมืองที่เป็นพรรคของทักษิณ เนื่องจากว่าผู้ออกเสียงในชนบทมีจำนวนมากกว่าพวกกรุงเทพฯหรือคนในเมือง ก็เลยทำให้พรรคทักษิณชนะ แต่ต่อมาในเดือนธันวาคม 2551ศาลก็ตัดสินสวนทางการเลือกตั้งของพวกเขาด้วยการยุบพรรคการเมืองนี้ โดยให้เหตุว่าเพราะมีการกระทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง ทำให้อภิสิทธิ์ผู้สำเร็จการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากอ๊อกฟอร์ดก้าวขึ้นสู่ อำนาจผ่านทางกระบวนการรัฐสภา คนอีสานนับแสนๆก็เริ่มต้นใส่เสื้อแดงเพื่อประท้วงมานับแต่นั้น
ผู้ ประท้วงได้เรียกร้องให้มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ขึ้น โดยเชื่อว่าประชาชนที่ศรัทธาทักษิณจะเอาชนะได้ เหมือนกับการเลือกตั้งหนที่ผ่านมา ทว่าการประท้วงนี้กลายเป็นสงครามศักดิ์สิทธิ์ขึ้นเพราะมีการยกเรื่องอุดมคติ อันสูงส่งของประชาธิปไตย ความเสมอภาค และความยุติธรรมเข้ามาผสมด้วย โดยพวกเขาเคลื่อนขบวนลงไปประท้วงยังกรุงเทพฯ ในชั้นเรียนเรื่องชนชั้นที่สอนกันในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ผู้นำเสื้อแดงอาจส่งผู้ที่นิยมลัทธิมาร์กซ์ด้วยการบรรยายบนกระดาษเพื่อเปิด หูเปิดตาชาวนาแต่ก็ไม่เท่ากับว่าไปสัมผัสด้วยตาที่กรุงเทพฯเมื่อมาเห็นความ มั่งคั่งของคนกรุง ห้างสรรพสินค้าอร่ามไปด้วยเพชรพลอย ผู้หญิงที่โบ๊ะครีมผิวขาว --และกังขาว่าทำไมสิ่งมหัศจรรยย์พรรค์นี้เกินกว่าที่พวกเขาจะเข้าถึงมันได้
สำหรับ ชาวกรุง--บางคนที่กล่าวหาว่าชาวอีสานเป็น"ควาย"อพยพเข้ามาเมืองหลวงก็เพียง เพื่อจะทำงานเป็นคนรับใช้,พวกขายของเร่ หรือโสเภณี--องค์การคนเสื้อแดงมีวินัยลับว่าเป็นเป้าหมายอันตราย หากคนต่างจังหวัดปรับเปลี่ยนไปเป็นขบวนการใต้ดิน ชนชั้นนำในกรุงเทพฯจะพบความจริงอันน่าตกใจ โดยในเหตุการณ์วันที่ 19 พฤษภาคมในชั่วโมงที่พวกเขาถูกสลายการชุมนุม โดยรู้สึกโดนหักหลัง ได้มีการเผาตึกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ห้างสรรพสินค้าใหญ่ที่สุด ธนาคารกรุงเทพหลายแห่ง และนับแต่นั้นมาโรงเรีบนหลายแห่งและอาคารอื่นๆได้ถูกทำลายไปทั่วประเทศ รวมถึงระเบิดเวลาในตอนกลางคืน ขณะที่แกนนำคนเสื้อแดงถูกจับกุมโดยไม่ให้ประกันตัวไม่มีใครรู้ว่าใครคือผู้ กำกับการก่อความรุนแรง"รัฐบาลบีบบังคับพวกเราให้จนตรอกและหันมาจับปืน"สะอาด เกษตรกรปลูกข้าวและมันสำปะหลัง ซึ่งเข้าร่วมประท้วงที่กรุงเทพฯรายหนึ่งกล่าว"แผ่นดินจะร้อนเป็นไฟ"
(See pictures of the violent end to the standoff in Bangkok.)
ก็ อาจเป็นไปไดว่าวาทกรรมอันร้อนแรงของชาวอีสานอาจคลายความคุกรุ่นลง ภายหลังการทำพิธีศพเสื้อแดงรายสุดท้ายที่ถูกสังหาร และชาวนาเริ่มกลับสู่ท้องทุ่งนาอีกหนเมื่อฤดูฝนเยี่ยมกรายมาถึง แต่ที่กรุงเทพฯนั้น--เสมือนว่าเป็นทั้งหมดของประเทศ--ความขนขื่นแยกแยก ระหว่างเสื้อแดงกับเสื้อเหลือง"ความแยกแยกมีไปทั่วทั้งสังคม ทั้งในชุมชน ครอบครัว ที่ทำงาน และแม้กระทั่งสถานที่ราชการ"ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ ลูกพรรคของอภิสิทธิ์กล่าว"คุณไม่สามารถที่จะจ่ายสำหรับค่าเสียหายทาง จิตวิทยาที่ถูกกระทำลงไปได้"
วันที่23พฤษภาคม ก็มีสิ่งหนึ่งที่พอจะแสดงให้เห็นถึงความสามัคคี ชาวกรุงเทพฯนับพันทั้งจนและรวยพากันขัดพื้นถนนบริเวณที่เคยเป็นที่ประท้วง นานหลายสัปดาห์ สุคัคกุล อรุณชัย เจ้าของร้านDVDในห้างเซ็นทรัลเวิร์ลด์ที่โดนเผามในการจลจลกล่าวว่า"ผมสูญ เสียทุกอย่างไปในกองไฟ"เขากล่าว"แต่ผมก็อยากช่วยเยียวยาสังคม และการมาช่วยขัดถูท้องถนนก็เป็นสิ่งเล็กๆน้อยๆที่ผมสามารถทำได้"
ขณะที่คนเสื้อแดงโศรกเศร้ากับการเสียชีวิตของผู้ประท้วง ชาวกรุงเทพฯจำนวนมากก็พากันโศรกเศร้ากับการเผาห้างสรรพสินค้า มีเฟซบุ๊คอันหนึ่งเรียกว่า"RIP CentralWorld"(ไว้ทุกข์ให้ห้างเซ็นทรัลเวิลด์)โดยมีแฟนมากมายหลายพัน สมาชิก--ความโศรกสลดต่อการสังหารของเสื้อแดงในสัปดาห์แห่งการต่อสู้ดูจะไม่ ปรากฎจนดูผิดปกติ แล้วเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม รัฐบาลก็ตัดสินใจดำเนินคดีออกหมายจับต่อทักษิณในคดีก่อการร้าย--อาชญากรรม ที่มีโทษฐานถึงประหารชีวิต--ดูเหมือนว่าจะเติมความโกรธให้กับคนเสื้อแดงหนัก ยิ่งขึ้น เสื้อแดงที่ยังยืนกรานว่าไม่มีอะไรอย่างอื่น นอกเสียจากรัฐบาลต้องลาออกไปทันที จึงจะพอระงับความไม่พอใจของพวกเขาลงได้
การ แสดงท่าทีต่อเสื้อแดงหนล่าสุดของอภิสิทธิ์ก็คือคำมั่นว่าจะจัดการเลือกตั้ง ในเดือนพฤศจิกายน แลกกับการยกเลิกการชุมนุมในกรุงเทพฯ แต่เมื่อเสื้อแดงปฏิเสธ ข้อเสนอดังกล่าวก็เป็นอันเลิกไป และตอนนี้อภิสิทธิ์บอกว่าเขามีหน้าที่นำความสสงบกลับสู่ประเทศไทย ซึ่งคงไม่ได้เกิดขึ้นเร็วนัก
"ในอนาคตจะเป็นอันตรายมากสำหรับพรรคประ ชาธิปัตย์ที่จะมาหาเสียงในภาคอีสาน"อดีตส.ส.สุทิน คลังแสง ซึ่งมีบ้านพักที่ขอนแก่นกล่าว"ความปลอดภัยของพวกเขาไม่สามารถที่จะ รับประกัน" แม้แต่ผู้ที่อยู่อาศัยในอีสานที่มีจุดยืนกลางๆอย่างเจริญรักษ์ เพชรประดับ ซึ่งเป็นบรรณาธิการของหนังสืออีสานบิซวีคก็ยังมองไม่เห็นสะพานเชื่อมระหว่าง สองฝ่าย"ผมไม่พบพื้นที่กลางๆเลย"เขากล่าว"มันไร้ความหวัง"
ตาม ประเพณีที่เคยเป็นมา พื้นที่ต่างจังหวัดของประเทศไทยมักจะมีการจุดไฟในหน้าหนาวเพื่อปรับพื้นนา แต่เวลานี้เกรงว่ามันอาจเผาไหม้ตลอดปี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น