19-05-2013 : ขอเชิญชวนพี่น้องเสื้อแดง พบกันที่แยกราชประสงค์ เพื่อรำลึกถึง 3 ปีที่ผ่านมา วันที่วันไอ้เหี้ย(ม)สั่งฆ่า Eห่าสั่งยิง...
GENERAL HERO 2010
For Maj.-Gen.Khattiya Sawasdipol
วันอาทิตย์, พฤษภาคม 19, 2556
วันอังคาร, มิถุนายน 19, 2555
อองซานซูจีกะลูกชาย Aung San Suu Kyi and her son, Alexander.
Aung San Suu Kyi and her son, Alexander. by Aung San Suu Kyi's Nobel Peace Prize speech" (เนชั่นสุดสัปดาห์ Nation Weekend)
"Absolute peace in our world is an unattainable goal. But it is one towards which we must continue to journey, our eyes fixed on it as a traveler in a desert fixes his eyes on the one guiding star that will lead him to salvation. Even if we do not achieve perfect peace on earth, because perfect peace is not of this earth, common endeavors to gain peace will unite individuals and nations in trust and friendship and help to make our human community safer and kinder.
วันจันทร์, มิถุนายน 04, 2555
ผ่าน พรบ.ปองดอง
ผู้ที่จะผ่าน พรบ.ปองดอง ท่านพร้อมแล้วหรือยังที่จะไปขึ้นศาลโลก......
ที่มา จาก FB by Tom Quick on Monday, May 28, 2012 at 11:18pm ·
ตามที่ประเทศไทยได้ลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดคอรัปชั่น สมัยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยที่สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นของสหประชาชาติ 2003 เกิดขึ้นโดยข้อกำหนดของสหประชาชาติที่ 58/4 ลงวันที่ 31 ตค. 2003 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 14 ธค. 2005 มีชาติลงนาม 140 ประเทศ และประเทศไทยพึ่งเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกเมื่อปี 2011 นี้ และการประชุมที่กรุงโซล ประเทศเกาหลี " สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่น ให้รวมเอาเรื่องของ " crimes against humanity " เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความผิดในสนธิสัญานี้ และให้เป็นไปตามสนธิสัญญากรุงโรม ที่ได้ก่อตั้งตามสนธิสัญญาขององค์การสหประชาชาติ วันที่ 17 กค. 1998 และมีผลบังคับใช้ 1 กต. 2002 กฎหมายนี้จะพิจารณาในรูปแบบของการกระทำความผิดที่เกี่ยวกับการคอรัปชั่น การฉ้อฉน การเรียกรับผลประโยชน์อื่นใด และรวมถึงการกระทำที่ก่อมาสู่อาชญากร โดยทรัพย์สินนั้นจะโดนฟ้องร้องในศาลและอายัด
ซึ่งเมื่อประเทศไทยได้ลงนามในสัตยาบัน ก็จะก่อให้เกิดอำนาจแก่การพิจารณาของอัยการศาล ICC ที่จะสามารถเข้ามาสอบสวนและฟ้องร้องผู้กระทำความผิด มีผลให้ศาลเข้ามามีอำนาจพิจารณาคดีเอาความผิดกับผู้กระทำความผิดนั้นๆได้ ถ้าฐานความผิดนั้นเข้าหลักเกณฑ์ในบทบัญญัติข้อที่ 5 และที่ 7 ของสนธิสัญญา เมื่อประเทศไทยได้ลงนามแล้วสหประชาชาติย่อมเข้ามาดำเนินการใดๆเกี่ยวกับ เรื่องคอรัปชั่นหรือการละเมิดสิทธิมนุษย์ชน
แล้วสนธิสัญญาเรื่องนี้มันเกี่ยวอย่างไรกับการออก พรบ.ปองดองแห่งชาติ ที่กำลังจะเข้าสู่วาระการพิจารณาในรัฐสภานั้น จะเป็นร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาติที่มุ่งเน้นที่ยกเว้นโทษ ลบล้างความผิดของผู้ที่กระทำความผิดฐานคอรัปชั่น ซึ่งร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาคิฉบับนี้มุ่งเน้นให้มีผู้ได้รับประโยชน์จากกฎหมายนี้เป็นจำนวนเฉพาะ และเจาะจงลงไปเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลหนึ่งบุคคลใด กลุ่มหนึ่งกลุ่มใด ซึ่งสนธิสัญญาขจัดการคอรัปชั่น มุ่งขจัดการเรียกรับผลประโยชน์ให้แก่คนหนึ่งคนใดหรือคณะหนึ่งคณะใด
ร่าง พรบ ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ที่กำลังเข้าไปสู่สภามุ่งเอื้อต่อใครถ้าไม่ใช่ทักษิณ โดยเฉพาะมาตรา 4 และ 5 ของร่าง พรบ. ฉบับนี้ " “มาตรา 4 เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ถ้าผู้กระทำการตามมาตรา 3 อยู่ในระหว่างการสอบสวนให้ผู้มีอำนาจสอบสวนระงับการสอบสวนผู้นั้น ถ้าอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องให้พนักงานอัยการหรือองคืกรที่เกี่ยวข้องระงับ การฟ้องหรือให้ถอนฟ้อง ถ้าผู้นั้นอยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีให้ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดี ถ้าได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิด ถ้าผู้นั้นรับโทษอยู่ให้การลงโทษนั้นสิ้นสุดลงและปล่อยตัวผู้นั้น”
“มาตรา 5 ให้ถือว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินการ หรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กรหรือคณะบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งโดย ประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อให้เป็นไปตามประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือคำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 หรือการดำเนินการหรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กร หรือหน่วยงานอื่นใด อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการดำเนินการหรือการปฏิบัติขององค์กรหรือของคณะ บุคคลดังกล่าว มิได้เป็นผู้ถูกกล่าวหาหรือเป็นผู้กระทำความผิด โดยให้นำความในมาตรา 4 มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติต่อบุคคลที่ได้รับผลกระทบนั้น ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมต่อไป” ที่ขีดเส้นใต้ไว้นั้น จะเห็นได้ว่า นายทักษิณ นักโทษหนีคดี จะหลุดคดีทั้งหมดแน่เพราะว่า ทักษิณ ชินวัตรไม่ได้มีเพียงคดีความที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการ เมืองพิพากษาถึงที่สุดแล้ว 2 คดีเท่านั้น ยังมีคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล และน่าจะมีที่อยู่ในระหว่างการสอบสวนอีก และเมื่อไม่ได้เป็นผู้ถูกกล่าวหา ไม่ได้เป็นผู้กระทำความผิด ตามความตอนท้ายในมาตรา 5 แล้ว เงิน 4.6 หมื่นล้านบาทที่ตกเป็นของแผ่นดินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ก็จะต้องเป็นอันว่าต้องคืนให้ นักโทษคนนี้ โดยผลของ พรบ.ปองดอง ฉบับนี้
ดังนั้นการที่รัฐสภาจะมาอาศัย พรบ.ปองดองแห่งชาติในการฟอกความผิดให้กับนักการเมืองหรือคนบางพวกนั้น ในส่วนของภาคประชาชนก็สามารถที่จะดำเนินคดีกับกลุ่ม สส. สว. ที่โหวตผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้ได้ และยังทำให้สิ่งที่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) มีความหมายมากขึ้น และมีน้ำหนักมากขึ้นเพราะว่า คดีที่ คตส.ทำนั้นทำให้เกิดการตัดสินโดยศาลไทย ศาลต่างประเทศย่อมรับฟังนั้นเป็นเพราะ ศาลและประเทศไทยนั้นได้ให้การรับรองเป็นภาคีสมาชิกในระดับเดียวกันกับนานาชาติ
ในส่วนของภาคประชาชน ท่านสามารถเข้าชื่อกัน 2 หมื่นรายชื่อแล้วยื่นไปที่ยื่นให้คณะกรรมการป้องกันอาชญากรรมและดำเนินความยุติธรรมทางอาญา สำนักงานองค์กรสหประชาชาติ ว่าด้วยการปราบปรามคอร์รัปชันอาชญากรรม และยาเสพติด สอบสวน เพื่อจะให้ตรวจสอบในฐานความผิดว่ามีการละเมิดสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นหรือไม่ และส่งผลการสอบสวน ไปยังคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (Economic and Social Council - ECOSOC ) ตามกฎบัตรแห่งสหประชาชาติสอบสวนเรื่องนี้เสร็จก็จะส่งให้คณะกรรมการ " ECOSOC " ซึ่งมีผลผูกพันกับศาล ICC และศาลอาญาระหว่างประเทศ สามารถเสนอยังศาลโลกในการพิจารณาเรื่องนี้ได้ทันที......
สรุป.......ท่าน สส. สว. ท่านใดว่าอยากจะลองไปขึ้นศาลโลกก็ลองผ่านร่างกฎหมาย หรือ พรบ.ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ดู ซิครับท่าน...........
ผ่าน พรบ.ปองดอง
ที่มาบทความ จากโพสต์ "ผู้ที่จะผ่าน พรบ.ปองดอง ท่านพร้อมแล้วหรือยังที่จะไปขึ้นศาลโลก......"
ตามที่ประเทศไทยได้ลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดคอรัปชั่น สมัยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยที่สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นของสหประชาชาติ 2003 เกิดขึ้นโดยข้อกำหนดของสหประชาชาติที่ 58/4 ลงวันที่ 31 ตค. 2003 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 14 ธค. 2005 มีชาติลงนาม 140 ประเทศ และประเทศไทยพึ่งเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกเมื่อปี 2011 นี้ และการประชุมที่กรุงโซล ประเทศเกาหลี " สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่น ให้รวมเอาเรื่องของ " crimes against humanity " เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความผิดในสนธิสัญานี้ และให้เป็นไปตามสนธิสัญญากรุงโรม ที่ได้ก่อตั้งตามสนธิสัญญาขององค์การสหประชาชาติ วันที่ 17 กค. 1998 และมีผลบังคับใช้ 1 กต. 2002 กฎหมายนี้จะพิจารณาในรูปแบบของการกระทำความผิดที่เกี่ยวกับการคอรัปชั่น การฉ้อฉน การเรียกรับผลประโยชน์อื่นใด และรวมถึงการกระทำที่ก่อมาสู่อาชญากร โดยทรัพย์สินนั้นจะโดนฟ้องร้องในศาลและอายัด
ซึ่งเมื่อประเทศไทยได้ลงนามในสัตยาบัน ก็จะก่อให้เกิดอำนาจแก่การพิจารณาของอัยการศาล ICC ที่จะสามารถเข้ามาสอบสวนและฟ้องร้องผู้กระทำความผิด มีผลให้ศาลเข้ามามีอำนาจพิจารณาคดีเอาความผิดกับผู้กระทำความผิดนั้นๆได้ ถ้าฐานความผิดนั้นเข้าหลักเกณฑ์ในบทบัญญัติข้อที่ 5 และที่ 7 ของสนธิสัญญา เมื่อประเทศไทยได้ลงนามแล้วสหประชาชาติย่อมเข้ามาดำเนินการใดๆเกี่ยวกับ เรื่องคอรัปชั่นหรือการละเมิดสิทธิมนุษย์ชน
แล้วสนธิสัญญาเรื่องนี้มันเกี่ยวอย่างไรกับการออก พรบ.ปองดองแห่งชาติ ที่กำลังจะเข้าสู่วาระการพิจารณาในรัฐสภานั้น จะเป็นร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาติที่มุ่งเน้นที่ยกเว้นโทษ ลบล้างความผิดของผู้ที่กระทำความผิดฐานคอรัปชั่น ซึ่งร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาคิฉบับนี้มุ่งเน้นให้มีผู้ได้รับประโยชน์จากกฎหมายนี้เป็นจำนวนเฉพาะ และเจาะจงลงไปเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลหนึ่งบุคคลใด กลุ่มหนึ่งกลุ่มใด ซึ่งสนธิสัญญาขจัดการคอรัปชั่น มุ่งขจัดการเรียกรับผลประโยชน์ให้แก่คนหนึ่งคนใดหรือคณะหนึ่งคณะใด
ร่าง พรบ ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ที่กำลังเข้าไปสู่สภามุ่งเอื้อต่อใครถ้าไม่ใช่ทักษิณ โดยเฉพาะมาตรา 4 และ 5 ของร่าง พรบ. ฉบับนี้ " “มาตรา 4 เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ถ้าผู้กระทำการตามมาตรา 3 อยู่ในระหว่างการสอบสวนให้ผู้มีอำนาจสอบสวนระงับการสอบสวนผู้นั้น ถ้าอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องให้พนักงานอัยการหรือองคืกรที่เกี่ยวข้องระงับ การฟ้องหรือให้ถอนฟ้อง ถ้าผู้นั้นอยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีให้ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดี ถ้าได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิด ถ้าผู้นั้นรับโทษอยู่ให้การลงโทษนั้นสิ้นสุดลงและปล่อยตัวผู้นั้น”
“มาตรา 5 ให้ถือว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินการ หรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กรหรือคณะบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งโดย ประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อให้เป็นไปตามประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือคำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 หรือการดำเนินการหรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กร หรือหน่วยงานอื่นใด อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการดำเนินการหรือการปฏิบัติขององค์กรหรือของคณะ บุคคลดังกล่าว มิได้เป็นผู้ถูกกล่าวหาหรือเป็นผู้กระทำความผิด โดยให้นำความในมาตรา 4 มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติต่อบุคคลที่ได้รับผลกระทบนั้น ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมต่อไป” ที่ขีดเส้นใต้ไว้นั้น จะเห็นได้ว่า นายทักษิณ นักโทษหนีคดี จะหลุดคดีทั้งหมดแน่เพราะว่า ทักษิณ ชินวัตรไม่ได้มีเพียงคดีความที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการ เมืองพิพากษาถึงที่สุดแล้ว 2 คดีเท่านั้น ยังมีคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล และน่าจะมีที่อยู่ในระหว่างการสอบสวนอีก และเมื่อไม่ได้เป็นผู้ถูกกล่าวหา ไม่ได้เป็นผู้กระทำความผิด ตามความตอนท้ายในมาตรา 5 แล้ว เงิน 4.6 หมื่นล้านบาทที่ตกเป็นของแผ่นดินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ก็จะต้องเป็นอันว่าต้องคืนให้ นักโทษคนนี้ โดยผลของ พรบ.ปองดอง ฉบับนี้
ดังนั้นการที่รัฐสภาจะมาอาศัย พรบ.ปองดองแห่งชาติในการฟอกความผิดให้กับนักการเมืองหรือคนบางพวกนั้น ในส่วนของภาคประชาชนก็สามารถที่จะดำเนินคดีกับกลุ่ม สส. สว. ที่โหวตผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้ได้ และยังทำให้สิ่งที่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) มีความหมายมากขึ้น และมีน้ำหนักมากขึ้นเพราะว่า คดีที่ คตส.ทำนั้นทำให้เกิดการตัดสินโดยศาลไทย ศาลต่างประเทศย่อมรับฟังนั้นเป็นเพราะ ศาลและประเทศไทยนั้นได้ให้การรับรองเป็นภาคีสมาชิกในระดับเดียวกันกับนานาชาติ
ในส่วนของภาคประชาชน ท่านสามารถเข้าชื่อกัน 2 หมื่นรายชื่อแล้วยื่นไปที่ยื่นให้คณะกรรมการป้องกันอาชญากรรมและดำเนินความยุติธรรมทางอาญา สำนักงานองค์กรสหประชาชาติ ว่าด้วยการปราบปรามคอร์รัปชันอาชญากรรม และยาเสพติด สอบสวน เพื่อจะให้ตรวจสอบในฐานความผิดว่ามีการละเมิดสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นหรือไม่ และส่งผลการสอบสวน ไปยังคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (Economic and Social Council - ECOSOC ) ตามกฎบัตรแห่งสหประชาชาติสอบสวนเรื่องนี้เสร็จก็จะส่งให้คณะกรรมการ " ECOSOC " ซึ่งมีผลผูกพันกับศาล ICC และศาลอาญาระหว่างประเทศ สามารถเสนอยังศาลโลกในการพิจารณาเรื่องนี้ได้ทันที......
สรุป.......ท่าน สส. สว. ท่านใดว่าอยากจะลองไปขึ้นศาลโลกก็ลองผ่านร่างกฎหมาย หรือ พรบ.ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ดู ซิครับท่าน...........
ที่มาบทความ จากโพสต์ "ผู้ที่จะผ่าน พรบ.ปองดอง ท่านพร้อมแล้วหรือยังที่จะไปขึ้นศาลโลก......"
ตามที่ประเทศไทยได้ลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดคอรัปชั่น สมัยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยที่สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นของสหประชาชาติ 2003 เกิดขึ้นโดยข้อกำหนดของสหประชาชาติที่ 58/4 ลงวันที่ 31 ตค. 2003 ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ 14 ธค. 2005 มีชาติลงนาม 140 ประเทศ และประเทศไทยพึ่งเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกเมื่อปี 2011 นี้ และการประชุมที่กรุงโซล ประเทศเกาหลี " สนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่น ให้รวมเอาเรื่องของ " crimes against humanity " เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความผิดในสนธิสัญานี้ และให้เป็นไปตามสนธิสัญญากรุงโรม ที่ได้ก่อตั้งตามสนธิสัญญาขององค์การสหประชาชาติ วันที่ 17 กค. 1998 และมีผลบังคับใช้ 1 กต. 2002 กฎหมายนี้จะพิจารณาในรูปแบบของการกระทำความผิดที่เกี่ยวกับการคอรัปชั่น การฉ้อฉน การเรียกรับผลประโยชน์อื่นใด และรวมถึงการกระทำที่ก่อมาสู่อาชญากร โดยทรัพย์สินนั้นจะโดนฟ้องร้องในศาลและอายัด
ซึ่งเมื่อประเทศไทยได้ลงนามในสัตยาบัน ก็จะก่อให้เกิดอำนาจแก่การพิจารณาของอัยการศาล ICC ที่จะสามารถเข้ามาสอบสวนและฟ้องร้องผู้กระทำความผิด มีผลให้ศาลเข้ามามีอำนาจพิจารณาคดีเอาความผิดกับผู้กระทำความผิดนั้นๆได้ ถ้าฐานความผิดนั้นเข้าหลักเกณฑ์ในบทบัญญัติข้อที่ 5 และที่ 7 ของสนธิสัญญา เมื่อประเทศไทยได้ลงนามแล้วสหประชาชาติย่อมเข้ามาดำเนินการใดๆเกี่ยวกับ เรื่องคอรัปชั่นหรือการละเมิดสิทธิมนุษย์ชน
แล้วสนธิสัญญาเรื่องนี้มันเกี่ยวอย่างไรกับการออก พรบ.ปองดองแห่งชาติ ที่กำลังจะเข้าสู่วาระการพิจารณาในรัฐสภานั้น จะเป็นร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาติที่มุ่งเน้นที่ยกเว้นโทษ ลบล้างความผิดของผู้ที่กระทำความผิดฐานคอรัปชั่น ซึ่งร่าง พรบ.ปองดองแห่งชาคิฉบับนี้มุ่งเน้นให้มีผู้ได้รับประโยชน์จากกฎหมายนี้เป็นจำนวนเฉพาะ และเจาะจงลงไปเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลหนึ่งบุคคลใด กลุ่มหนึ่งกลุ่มใด ซึ่งสนธิสัญญาขจัดการคอรัปชั่น มุ่งขจัดการเรียกรับผลประโยชน์ให้แก่คนหนึ่งคนใดหรือคณะหนึ่งคณะใด
ร่าง พรบ ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ที่กำลังเข้าไปสู่สภามุ่งเอื้อต่อใครถ้าไม่ใช่ทักษิณ โดยเฉพาะมาตรา 4 และ 5 ของร่าง พรบ. ฉบับนี้ " “มาตรา 4 เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับแล้ว ถ้าผู้กระทำการตามมาตรา 3 อยู่ในระหว่างการสอบสวนให้ผู้มีอำนาจสอบสวนระงับการสอบสวนผู้นั้น ถ้าอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องให้พนักงานอัยการหรือองคืกรที่เกี่ยวข้องระงับ การฟ้องหรือให้ถอนฟ้อง ถ้าผู้นั้นอยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีให้ศาลมีคำสั่งจำหน่ายคดี ถ้าได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิด ถ้าผู้นั้นรับโทษอยู่ให้การลงโทษนั้นสิ้นสุดลงและปล่อยตัวผู้นั้น”
“มาตรา 5 ให้ถือว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินการ หรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กรหรือคณะบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งโดย ประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อให้เป็นไปตามประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือคำสั่งของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 หรือการดำเนินการหรือการปฏิบัติการทั้งหลายขององค์กร หรือหน่วยงานอื่นใด อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการดำเนินการหรือการปฏิบัติขององค์กรหรือของคณะ บุคคลดังกล่าว มิได้เป็นผู้ถูกกล่าวหาหรือเป็นผู้กระทำความผิด โดยให้นำความในมาตรา 4 มาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติต่อบุคคลที่ได้รับผลกระทบนั้น ให้เป็นไปตามหลักนิติธรรมต่อไป” ที่ขีดเส้นใต้ไว้นั้น จะเห็นได้ว่า นายทักษิณ นักโทษหนีคดี จะหลุดคดีทั้งหมดแน่เพราะว่า ทักษิณ ชินวัตรไม่ได้มีเพียงคดีความที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการ เมืองพิพากษาถึงที่สุดแล้ว 2 คดีเท่านั้น ยังมีคดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล และน่าจะมีที่อยู่ในระหว่างการสอบสวนอีก และเมื่อไม่ได้เป็นผู้ถูกกล่าวหา ไม่ได้เป็นผู้กระทำความผิด ตามความตอนท้ายในมาตรา 5 แล้ว เงิน 4.6 หมื่นล้านบาทที่ตกเป็นของแผ่นดินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ก็จะต้องเป็นอันว่าต้องคืนให้ นักโทษคนนี้ โดยผลของ พรบ.ปองดอง ฉบับนี้
ดังนั้นการที่รัฐสภาจะมาอาศัย พรบ.ปองดองแห่งชาติในการฟอกความผิดให้กับนักการเมืองหรือคนบางพวกนั้น ในส่วนของภาคประชาชนก็สามารถที่จะดำเนินคดีกับกลุ่ม สส. สว. ที่โหวตผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้ได้ และยังทำให้สิ่งที่คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) มีความหมายมากขึ้น และมีน้ำหนักมากขึ้นเพราะว่า คดีที่ คตส.ทำนั้นทำให้เกิดการตัดสินโดยศาลไทย ศาลต่างประเทศย่อมรับฟังนั้นเป็นเพราะ ศาลและประเทศไทยนั้นได้ให้การรับรองเป็นภาคีสมาชิกในระดับเดียวกันกับนานาชาติ
ในส่วนของภาคประชาชน ท่านสามารถเข้าชื่อกัน 2 หมื่นรายชื่อแล้วยื่นไปที่ยื่นให้คณะกรรมการป้องกันอาชญากรรมและดำเนินความยุติธรรมทางอาญา สำนักงานองค์กรสหประชาชาติ ว่าด้วยการปราบปรามคอร์รัปชันอาชญากรรม และยาเสพติด สอบสวน เพื่อจะให้ตรวจสอบในฐานความผิดว่ามีการละเมิดสนธิสัญญาว่าด้วยการขจัดการคอรัปชั่นหรือไม่ และส่งผลการสอบสวน ไปยังคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ (Economic and Social Council - ECOSOC ) ตามกฎบัตรแห่งสหประชาชาติสอบสวนเรื่องนี้เสร็จก็จะส่งให้คณะกรรมการ " ECOSOC " ซึ่งมีผลผูกพันกับศาล ICC และศาลอาญาระหว่างประเทศ สามารถเสนอยังศาลโลกในการพิจารณาเรื่องนี้ได้ทันที......
สรุป.......ท่าน สส. สว. ท่านใดว่าอยากจะลองไปขึ้นศาลโลกก็ลองผ่านร่างกฎหมาย หรือ พรบ.ปองดองแห่งชาติ ฉบับนี้ดู ซิครับท่าน...........
วันอาทิตย์, พฤษภาคม 20, 2555
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)